การตรวจโรคเล็ปโตสไปโรซีสทางห้องปฏิบัติการ |
ดร.สลักจิต ชุติพงษ์วิเวท
นักเทคนิคการแพทย์ 8 วช. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เชียงใหม่ |
|
โรคเล็ปโตสไปโรซีส
เชื้อก่อโรค Leptospira
Class Schzomycetes
Order Spirochaetales
Family Spirochaetaceae
Genus Leptospira
Species - biflexa (free living saprophyte) อยู่เป็นอิสระทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดโรค
- nterogans (pathogen) ก่อให้เกิดโรค
การก่อโรค
1. ได้รับเชื้อ : ทางบาดแผล การกิน สำลักน้ำเข้าทางจมูก
2. เชื้อเข้าสู่กระแสโลหิต
3. เชื้อไปยังอวัยวะต่าง ๆ
4. มีการติดเชื้อที่ไต
5. ปล่อยเชื้อออกมากับปัสสาวะ
วัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์
มีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้ผลการตรวจเชื้อทางห้องปฏิบัติการเป็นลบ เช่น ยังไม่มีเชื้อในปัสสาวะหรือ ความไม่เหมาะสมระหว่าง เวลาที่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย กับเวลาที่เก็บตัวอย่าง ดังได้อธิบายในกลไกการก่อโรค บางรายอาการชัด แต่ detect early ก็ตรวจไม่พบ ดังนั้นการตรวจเพื่อรักษาจะไม่มีประโยชน์
แต่อาจจะใช้ในการเฝ้าระวัง ควบคุมโรค ผู้ส่งตรวจควรมีความเข้าใจว่าต้องการอะไรในการส่งตรวจ
การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเบื้องต้น เพื่อ Screening
การตรวจยืนยันผลการตรวจเบื้องต้น เป็นการตรวจซ้ำตัวอย่างเดิม หรือเชื้อเดิม โดยวิธีสำหรับใข้ตรวจยืนยัน
หรือ เป็นการตรวจให้ละเอียดยิ่งขึ้นเช่น ตรวจหา Serogroup , Serotype
เกณท์ทางห้องปฏิบัติการ
Screening test ข้อหนึ่งข้อใดให้ผลบวก
- Latex agglutinaion (LA) :สำหรับในต่างประเทศจะใช้ antigen serovar ที่พบในต่างประเทศ ซึ่งเมื่อนำไปใช้ตรวจในบ้านเรา ผลอาจจะ negative ได้ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะใช้ antigen serovar ที่พบระบาดในบ้านเราประมาณ 5 serovar ซึ่งจะ coated ใหม่ทุก 5 ปี Sensitivity ใกล้เคียงกัน ปกติขาย แต่ถ้าช่วงระบาดให้เบิกฟรี
- Dipstick test ราคาประมาณ 40-50 บาทต่อ test
- Lateral flow test
- Microcapsule agglutination test (MCAT)
Confirmation test ข้อหนึ่งข้อใดให้ผลบวก
- Immunofluorescent antibody test (IFA) ใช้ antigen serovar ที่พบระบาดในบ้านเรา
ประมาณ 5 serovar ยึดติดสไลด์ (fixed) ทดสอบ antibody ราคา 80-90 บาท / test
- ตรวจครั้งเดียว IgM>1:100 หรือ IgG >1:400
- ตรวจเลือดคู่ (Pair sera) พบมีการเพิ่มขี้นอย่างน้อย 4 เท่า (four-fold rising)ของ
IgM หรือ IgG
- Microscopic agglutination test (MAT)
- ตรวจครั้งเดียว IgM>1:100 หรือ IgG >1:400
- ตรวจเลือดคู่ (Pair sera) พบมีการเพิ่มขี้นอย่างน้อย 4 เท่า (four-fold rising)
โดยวิธีนี้จะใช้เชื้อ 24 serovar ตรวจหา antibody โดยปกติ จะมี Cross reaction เกิดขึ้น
ระหว่าง serovar ต่าง ๆ ต้องทำการหา titer ว่า serovar ไหนให้ค่า titer สูงกว่า ถือว่าเป็น
การติดเชื้อจาก serovar นั้น
ในทางปฏิบัติจริง ได้ serum ครั้งที่ 2 ยาก จากประสพการณ์ที่น่าน ครั้งแรกเจาะเลือด 3727 ราย
เก็บ serum ครั้งที่ 2 ได้ 600 ราย
- Elisa test for leptospirosis ให้ผลบวก
(Elisa จากต่างประเทศ Antigen ที่ใช้ coat plate ใช้ antigen serovar ที่พบในต่างประเทศ)
- เพาะเชื้อจากเลือด ถือว่าวิธีนี้เป็น gold standard ยืนยันการ infection
- ในกรณีที่เพาะเชื้อแล้วไม่ขึ้น สามารถตรวจด้วยวิธี Polymerase chain reaction(PCR)
ด้านบนเป็นความสามารถตรวจที่โรงพยาบาล ด้านล่างเป็นความสามารถตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
|
ชนิดตัวอย่างที่สามารถส่งตรวจโรคเล็ปโตสไปโรซีส
เลือด (ใช้ตัวอย่างนี้มากที่สุด)
น้ำไขสันหลัง
ปัสสาวะ
ชิ้นเนื้อ หรือ อวัยวะต่าง ๆ
น้ำ
|
|
|
การเก็บตัวอย่างชนิดต่าง ๆ ส่งตรวจ |
ตัวอย่างน้ำ เพื่อตรวจหา เชื้อโดยตรง 1 วัน (หลังจากรับตัวอย่าง)
เพาะแยกเชื้อ 1 4 เดือน
ภาชนะสะอาด 100 - 200 ML.
เก็บ RT(อุณหภูมิห้อง)
ตัวอย่างน้ำจะทำในช่วงมีการระบาดเท่านั้น
ตัวอย่างชิ้นเนื้อ
ห้ามแช่แข็ง
ใส่กระติกแช่เย็น
ใส่ภาชนะสะอาด
ควรเก็บทันที
ตัวอย่างเลือด
ควรเก็บก่อนให้ Antibiotic เนื่องจากจะรบกวนผลการตรวจ
เพาะเชื้อ : เก็บในระยะแรกของโรค ภายใน 1 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ กรณีไม่ทำทันที
ใส่สารกันเลือดแข็ง EDTA เก็บที่ RT(อุณหภูมิห้อง) ระยะเวลา 1 4 เดือน
PCR : เก็บในระยะแรกของโรค ภายใน 1 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ กรณีไม่ทำทันที
ใส่สารกันเลือดแข็ง EDTA เก็บที่ 2-8 องศา ไม่ควรใช้ Oxalate หรือ Citrate เนื่องจาก
จะรบกวนผล PCR ระยะเวลา 1 2 สัปดาห์
CBC : ใส่สารกันเลือดแข็ง EDTA ประมาณ 3 CC.
Chemistry : Cloted blood ตั้งทิ้งไว้อย่างน้อย 30 นาที RT ปั่นแยกซีรัม
แอนติบอดี : Cloted blood 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ตั้งทิ้งไว้อย่างน้อย 30 นาที
RT ปั่นแยกซีรัม
เก็บที่ 2-8 และ/หรือ -20 องศา
หลอดบรรจุที่สะอาด หลีกเลี่ยงการ contaminated
จำนวนที่เจาะ 10 CC.
เลือดเมื่อปั่นแยก ซีรั่ม แล้ว ส่งตรวจ เมื่อยังไม่ได้ตรวจให้แช่แข็ง เวลาแช่แข็งให้แบ่งตัวอย่างพอตรวจ
สำหรับวิธีที่มีอยู่ อย่า Freeze และ Thraw เนื่องจากจะทำให้ Immunoglobulin เสื่อมสลาย
ทำให้ ตรวจได้ผลลบปลอมได้
ตัวอย่างน้ำไขสันหลัง
เพาะเชื้อ เก็บที่ RT
เก็บในระยะแรกของโรค ภายใน 1 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ
PCR เก็บที่ 2-8 องศา
เก็บระยะแรกของโรคภายใน 1 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ
จำนวนที่เจาะ 0.5 CC.
ตัวอย่างปัสสาวะ
เพาะเชื้อ : เก็บใน สัปดาห์ที่ 2 หลังจากมีอาการควรเป็น midstream urine เก็บไว้ไม่เกิน 1 ชม.
กรณีไม่ทำทันทีเก็บที่ RT ด้วย PBS หรือ NSS อัตราส่วน 1 : 10
PCR : เก็บตั้งแต่ในระยะแรกของโรคก็ได้ / ดีที่สุดควรเก็บสัปดาห์ที่ 2 เป็นต้นไป หลังเริ่มมีอาการ
กรณีไม่ทำทันทีเก็บที่ 2-8 องศา
จำนวนที่เก็บ 20 ml
|
 |
|
 |
|
ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เชียงใหม่-เชียงราย
ตรวจเฉพาะ IFA เท่านั้น (ระยะเวลารายงานผลประมาณ 5 วัน)
นอกนั้นส่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ส่วนกลาง) |
|
 |
|
 |
|
เครือข่าย และเทคนิคทางห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัย โรคเล็บโตสไปโรซิส |
สถานที่ |
Serology |
Culture |
Molecular |
MAT |
IFA |
ELISA |
LA |
คน |
สัตว์ |
PCR |
PFGE |
ในประเทศ |
|
|
|
|
|
|
|
|
- กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
O |
O |
- |
O |
O |
|
O |
O |
- สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การทหาร
กรมแพทย์ทหารบก |
O |
- |
- |
- |
- |
O |
- |
- |
- ศูนย์วิจัยเลปโตสไปโรซิส
โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- สถาบันสุขภาพสัตว์ กรมปศุสัตว์ |
O |
- |
- |
- |
- |
O |
- |
- |
- ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงใหม่ |
- |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เชียงราย |
- |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
ต่างประเทศ |
|
|
|
|
|
|
|
|
-Meningitis&Special pathogen Branch National Center for Infection Disease(CDC): USA |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
R&D |
R&D |
-Leptospirosis Laboratory:
Iowa, USA |
O |
- |
- |
- |
- |
O |
- |
- |
-Royal tropical Institute:
the Netherlands |
O |
- |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
- Leptospirosis Reference Laboratory: Australia |
O |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
- |
|
|
|